วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการ 60 ห้อง A

อาจารย์ธภัทร ชัยชูโชค  อาจารย์ปาล์ม

1.  001 นางสาวกรรภิรมณ์ ติระพัฒน์ เอิง

2.  002 นายก้องเกียรติ ศิลป์ภูศักดิ์ อัด
3.  003 นายเกียรติศักดิ์ ดำด้วง เอ็ม
4.  004 นายจีรุตม์ ศรีราม บิ๊ก
5.  005 นายชนัตถ์ จันทร์วงค์ นัท
6. 007 นางสาวฐานิญา ช่วยบำรุง พะแพง
7.
8.
9.   010 นายตะวัน แซ่ซำ การ์ด
10. 011 นายธนพงศ์ ไชยนุรักษ์ บูม
11. 012 นายธวัช บัวแก่น บอล
12. 013 นางสาวธิดารัตน์ เรืองเหมือน แพร
13.
14. 015 นายนันทวุฒิ ช่วยมณี บ่าว 
15. 016 นายนิติกรณ์ ยอดสุวรรณ น็อต
16.
17. 018 นาย ประพัฒน์พงษ์ ทองเอม นุ๊ก
18. 019 นายปิยวิทย์ สังข์เศรษฐ์ วิทย์
19.
20. 021 นางสาวเพชรลดา เขียวสุวรรณ ฝน
21.
22. 023 นายภาคภูมิ ใจสมุทร ภูมิ
23. 024 นายมูฮัยมีน ยะเลชู มิง
24. 025 นายยูโซฟ ใบตาเย๊ะ กำนัน
25. 026 นายรุซดีย์ ยะลิน ดี
26. 027 นางสาวลัดดาวรรณ แก้วเจริญ ปาล์ม
27. 028 นาย วรายุทธ ชูบุญลาภ แม็ก
28. 029
29. 030 นางสาววารีซ่า บาราสัน วาวา
30. 031 นางสาวศเร๊าะต้า หมัดบก ต้าร์
31. 032 นายศัตยยา แซ่เอี่ยม แดน
32.
33. 034 นายสถิตย์ พิชัยบัณฑิตย์  แสน
34.
35. 036 นายสิทธิพร บำเพิง บูม
36. 037 นางสาวสุทธิณี บุญธรรม พิกุล
37. 038 นางสาวสุธารส หมื่นชนม์ บัดดี้แบ็มบี้
38. 039 นางสาวสุภาพร ทองแย้ม แก้ว
39. 040 นาย โสภณ สุวรรณรัศมี ใหม่
40.
41. 042  นายอนุวัฒน์ ค้ำชู เอ็ม
42. 043 นายอรรถชัย ชูสังข์ กอล๊ฟ
43. 044 นายอลังการ แท่นทอง จ๋า
44. 089 นายสัณหวัช ขวัญเย็น มาร์ค

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ


ระบบสายพานลำเลียง










      



    ระบบสายพานลำเลียง ใช้สำหรับขนถ่ายวัสดุปริมาณมวล และวัสดุก้อนโต หรือหีบห่อ ทั้งในแนวราบและแนวลาดเอียง สร้างได้หลายลักษณะ คือ แบบติดตาย-เคลื่อนย้ายที่ได้ หรือสายพานแบบราบ-สายพานแบบแอ่ง มีขีดความสามารถสูง ระยะทางขนถ่ายได้ไกล สร้างได้ง่าย ไม่ต้องการงานบำรุงรักษามากนัก ความสึกหรอต่ำและใช้กำลังขับค่อนข้างต่ำ ข้อจำกัดที่สำคัญได้แก่ความชันลาดขึ้นของสายพาน หากจะต้องขนถ่ายที่ความชันราบถึง 45 องศา จะต้องสร้างผิวสายพานให้มีแผ่นกั้นวัสดุไหล และไม่ควรใช้ขนถ่ายวัสดุที่กำลังร้อน


















































พาหนะลำเลียงวัสดุอัตโนมัติ (AVG)

ระบบ AGV ของ Daifuku เพิ่มความคล่องตัวและประสิทธิภาพในการขนย้ายวัสดุ ในหลากหลายโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

โปรแกรมควบคุมสินค้าคงคลังแบบ Real-Time ไม่เพียงแต่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ขนย้ายวัสดุอัตโนมัติ อีกทั้งยังสามารถตรวจเช็คประวัติบันทึกได้อีกด้วย
   






วันอังคารที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม





หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 


Image result for หุ่นยนต์ในโรงงาน


สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหมได้เผยโฉมหุ่นยนต์เก็บกู้ระเบิดที่พัฒนาขึ้น เพื่อทดสอบใช้งานเบื้องต้น และเปิดเวทีสัมมนานิทรรศการในหัวข้อ “ทิศทางการพัฒนาหุ่นยนต์ทางการทหารในอนาคตและการปฏิบัติการทางด้านการเก็บกู้และทำลายวัตถุระเบิด”







หุ่นยนต์ Ashimo หุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์ที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก

หุ่นยนต์ อาซิโม (Ashimo) ที่แสนจะน่ารัก น่าทึ่งกันดีอยู่แล้วเพราะเป็น หุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์ที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลกในปัจจุบัน และเป็นหุ่นยนต์ตัวแรกที่ครบเครื่องคล้ายมนุษย์มากที่สุด บางท่านอาจจะเคยเห็นในคลิปผ่านจอคอมพิวเตอร์ มือถือ เห็นในข่าวทีวี แต่หลาย ๆ คนคงจะไม่เคยเห็นอาซิโมตัวจริงกันมาก่อน ทีมงาน Japan50 ไม่รอช้า จึงขอแนะนำให้ทุกคนที่เที่ยวญี่ปุ่นด้วยตัวเองลองเดินทางไปไปพบหุ่นยนต์อาซิโมตัวจริงที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมแห่งชาติ โอไดบะ ด้วยตัวเองสักครั้งนึงครับ โดยเฉพาะเด็กๆ ก่อนอื่นเราลองทำมาทำความรู้จักกับหุ่นยนต์อาซิโมกันก่อนว่าทำไมหุ่นยนต์อาซิโมตัวนี้ถึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจในโตเกียวที่สามารถดึงดูดนักเที่ยวเที่ยวให้มาเที่ยวกัน


เครื่องจักรกลNC

( NC )  หมายถึง  การควบคุมเครื่องจักรกลด้วยระบบตัวเลขและตัวอักษร  ซึ่งคำจำกัดความนี้ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา  กล่าวคือ  การเคลื่อนที่ต่าง ๆ  ตลอดจนการทำงานอื่น ๆ  ของเครื่องจักรกล  จะถูกควบคุมโดยรหัสคำสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลข  ตัวอักษร  และสัญลักษณ์อื่น ๆ  ซึ่งจะถูกแปลงเป็นเคลื่อนสัญญาณ (  Pulse )  ของกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณออกอื่น ๆ  ที่จะไปกระตุ้นมอเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อทำให้เครื่องจักรกลทำงานตามขั้นตอนที่ต้องการ










 DNC   คือ ระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆกันได้ในเวลาเดียวกัน










 

ความหมายเครีื่องCNC
เป็นเครื่องจักรที่ใช้ระบบควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาจากคำว่า Computerized Numberical Control 

ประเภท
เครื่องจักรที่มีสมรรถนะในการผลิตสูงในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่ใช้ระบบ CNC ทั้งสิ้น แต่จะมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ ที่มีความแตกต่างกันในการผลิต เอ็มวาสฯ จะเกี่ยวข้องกับงานขึ้นรูปโลหะด้วยเครื่องจักร CNCเกือบทั้งหมดมีส่วนน้อยที่เกี่ยวกับอาหารและงานไม้ประเภทของการขึ้นรูปโลหะ
1.งานโลหะแผ่น เช่น งานม้วน งานพับ งานเชื่อมประสาน งานปั๊ม (Press)งานตัด


สมาชิกการจัดการ 60 ห้อง A

อาจารย์ธภัทร ชัยชูโชค  อาจารย์ปาล์ม 1.  001 นางสาวกรรภิรมณ์ ติระพัฒน์ เอิง 2.  002  นายก้องเกียรติ ศิลป์ภูศักดิ์ อัด 3.  003 นายเกียรต...